วันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ไดโนเสาร์กินเนื้อ

ปาราซอโลโรฟุส ชื่อไดโนเสาร ์: ปาราซอโลโรฟุส สถานที่พบ : ทวีปอเมริกาเหนือ ความยาว : 10 เมตร ความสูง : 5 เมตร น้ำหนัก : 900 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน2ขาและ4ขา ลักษณะของฟัน : มีลักษณะเป็นซี่เล็ก ๆ ประเภท : ไดโนเสาร์กินพืช อาหาร : ใบไม้และพืชทั่วไป มีชีวิตอยู่ในยุค : ครีเทเชียส (cretaceous)ประมาณ 76-74 ล้านปีก่อน ข้อมูลเพิ่มเติม : มีหงอนยาวกลวง ทำหน้าที่เก็บน้ำในช่วงที่มันดำน้ำ



โปรโตเซราท๊อป ชื่อไดโนเสาร ์: โปรโตเซราท๊อป สถานที่พบ : ทวีปอเมริกาเหนือ เอเชียตะวันออก ความยาว : 1-3 เมตร ความสูง : 3 เมตร น้ำหนัก : 450 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน2ขาและ4ขา ลักษณะของฟัน : มีจะงอยปากคล้ายนกแก้ว ประเภท : ไดโนเสาร์กินพืช อาหาร : ใบไม้และพืชทั่วไป มีชีวิตอยู่ในยุค : ครีเทเชียส (cretaceous)ประมาณ 76-74 ล้านปีก่อน ข้อมูลเพิ่มเติม : มีแผงสร้อยคอโครงกระดูกยื่นออกมาทางแก้ม





ไตรเซราท๊อป ชื่อไดโนเสาร ์: ไตรเซราท๊อป สถานที่พบ : ทวีปอเมริกาเหนือ ความยาว : 9 เมตร ความสูง : 5 เมตร น้ำหนัก : 6,000 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน4ขา ลักษณะของฟัน : มีจะงอยปากคล้ายนกแก้ว ประเภท : ไดโนเสาร์กินพืช อาหาร : ใบไม้และพืชทั่วไป มีชีวิตอยู่ในยุค : ครีเทเชียส (cretaceous)ประมาณ 76-74 ล้านปีก่อน ข้อมูลเพิ่มเติม : มีนอขนาดเล็กอยู่ตรงปลายจมูก








โดรมีโอซอรัส ชื่อไดโนเสาร ์: โดรมีโอซอรัส หมายถึง running lizard สถานที่พบ : ทวีปอเมริกาเหนือ ความยาว : 1.8 เมตร ความสูง : 80 เมตร น้ำหนัก : 15 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน2ขา ลักษณะของฟัน : มีฟันเล็กโค้งไปด้านหลังและแหลมคมมาก ประเภท : ไดโนเสาร์กินเนื้อ อาหาร : สัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด มีชีวิตอยู่ในยุค : ครีเทเชียส (cretaceous)ประมาณ 76-74 ล้านปีก่อน ข้อมูลเพิ่มเติม : มีกรงเล็บด้านหลังเท้าสำหรับเตะเหยื่อ



ฮิปซิโลโพดอน ชื่อไดโนเสาร ์: ฮิปซิโลโพดอน หมายถึง high-ridge-tooth สถานที่พบ : ทวีปอเมริกาเหนือ,ทวีปยุโรป ความยาว : 2 เมตร ความสูง : 3 เมตร น้ำหนัก : 50 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน2ขา ลักษณะของฟัน : มีขอบปากเป็นกระดูกไว้เคี้ยวอาหาร,มีฟันเหมือนสิ่ว ประเภท : ไดโนเสาร์กินพืช อาหาร : ใบไม้และพืชที่มีต้นอ่อนนุ่ม มีชีวิตอยู่ในยุค : ครีเทเชียส (cretaceous)ประมาณ 125 ล้านปีก่อน ข้อมูลเพิ่มเติม : มีต้นขาสั้นและมีกระดูกหน้าแข้งยาวซี่งทำให้มัน สามารถกระโดดได้ไกล และวิ่งเร็ว


ไตรโอดอนฟอเมซัส ชื่อไดโนเสาร ์: ไตรโอดอนฟอเมซัส สถานที่พบ : ทวีปอเมริกาเหนือ,ทวีปยุโรป,เอเชีย ความยาว : 2 เมตร ความสูง : 1.5 เมตร น้ำหนัก : 15 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน2ขา ลักษณะของฟัน : ขากรรไกรยาว ฟันแหลมคม ประเภท : ไดโนเสาร์กินเนื้อ อาหาร : สัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก มีชีวิตอยู่ในยุค : ครีเทเชียส (cretaceous)ประมาณ 125 ล้านปีก่อน ข้อมูลเพิ่มเติม : ขาและเท้ามีลักษณะคล้ายนกมากกว่าสัตว์เลื้อยคลาน


ข้อมูลอ้างอิง
-google-ไดโนเสาร์กินเนื้อ
-google-ไดโนเสาร์
-google-การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ของไดโนเสาร์
-google-รูปภาพไดโนเสาร์

ไดโนเสาร์กินเนื้อ

อีกัวโนดอน ชื่อไดโนเสาร ์: อีกัวโนดอน หมายถึง iguana-tooth สถานที่พบ : ทวีปเอเชีย อเมริกาเหนือ ยุโรป แอฟริกา ความยาว : 10 เมตร ความสูง : 5 เมตร น้ำหนัก : 4500 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน2ขาหรือ4ขา ลักษณะของฟัน : มีขอบปากเป็นกระดูกไว้เคี้ยวอาหาร,มีฟันเหมือนสิ่ว ประเภท : ไดโนเสาร์กินพืช อาหาร : ใบไม้และพืชที่มีต้นอ่อนนุ่ม มีชีวิตอยู่ในยุค : ครีเทเชียส(cretaceous)ประมาณ135-125ล้านปี ข้อมูลเพิ่มเติม : มีกระดูกแหลมที่นิ้วหัวแม่มือใช้สำหรับป้องกันตัว





แอนกีโลซอรัส ชื่อไดโนเสาร ์: แอนกีโลซอรัส หมายถึง ไดโนเสาร์หุ้มเกราะ สถานที่พบ : ทวีปเอเชีย อเมริกาเหนือ แอนตาร์กติกา ความยาว : 5-11 เมตร ความสูง : 5 เมตร น้ำหนัก : 5500 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน4ขา ลักษณะของฟัน : มีขอบปากเป็นกระดูกไว้เคี้ยวอาหาร ประเภท : ไดโนเสาร์กินพืช อาหาร : ใบไม้และพืชที่มีต้นอ่อนนุ่ม มีชีวิตอยู่ในยุค : ครีเทเชียส(cretaceous)ประมาณ135-125ล้านปี ข้อมูลเพิ่มเติม : มีปุ่มกระดูกที่ปลายหางเพื่อป้องกันตัว



อาร์เจนนีโนซอรุส ชื่อไดโนเสาร ์: อาร์เจนนีโนซอรุส หมายถึง ไดโนเสาร์ปลาวาฬ สถานที่พบ : ทวีปเอเชีย อเมริกาเหนือ ออสเตรเลีย ความยาว : 9-18 เมตร ความสูง : 6-10 เมตร น้ำหนัก : 10,000-30,000 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน4ขา ลักษณะของฟัน : ค่อนข้างหนาและแบน ประเภท : ไดโนเสาร์กินพืช อาหาร : ใบไม้และพืชที่มีต้นอ่อนนุ่ม มีชีวิตอยู่ในยุค : จูแรสสิก(Juassic)ประมาณ135-125ล้านปี ข้อมูลเพิ่มเติม : มีกระโหลกศรีษะค่อนข้างเล็ก มีหางยาวกว่าขาหน้า
 





 เมกะโลซอรัส ชื่อไดโนเสาร ์: เมกะโลซอรัส สถานที่พบ : ทวีปเอเชีย ความยาว : 10 เมตร ความสูง : 6-8 เมตร น้ำหนัก : 5,500 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน2ขา ลักษณะของฟัน : ค่อนข้างหนาและแบน ประเภท : ไดโนเสาร์กินเนื้อ อาหาร : สัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง มีชีวิตอยู่ในยุค : ครีเทเชียส (cretaceous)ประมาณ 76-74 ล้านปีก่อน ข้อมูลเพิ่มเติม : มีนิ้วมือ 3 นิ้ว ใช้ในการสังหารเหยื่อ

ไดโนเสาร์กินเนื้อ

ไดโพลโดคัส ชื่อไดโนเสาร ์: ไดโพลโดคัส หมายถึง double beam สถานที่พบ : ทวีปอเมริกาเหนือ ความยาว : 26 เมตร ความสูง : 8 เมตร น้ำหนัก : 10,000 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน4ขา ลักษณะของฟัน : ลักษณะคล้ายหวี ประเภท : ไดโนเสาร์กินพืช อาหาร : ใบไม้และพืชที่มีต้นอ่อนนุ่ม มีชีวิตอยู่ในยุค : จูราสสิก(jurassic)ประมาณ 155-145 ล้านปีก่อน ข้อมูลเพิ่มเติม : มีกระดูกสันหลังที่กลวงและเบาแต่ว่าแข็งแรง



สเตโกซอรัส ชื่อไดโนเสาร ์: สเตโกซอรัส หมายถึง ไดโนเสาร์หุ้มเกาะ สถานที่พบ : ทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป แอฟริกา ความยาว : 3-9 เมตร ความสูง : 6 เมตร น้ำหนัก : 10,000 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน4ขา ลักษณะของฟัน : ลักษณะเป็นจะงอย ประเภท : ไดโนเสาร์กินพืช อาหาร : ใบไม้ กิ่งไม้และพืชที่มีต้นอ่อนนุ่ม มีชีวิตอยู่ในยุค : จูราสสิก(jurassic)ประมาณ 155-145 ล้านปีก่อน ข้อมูลเพิ่มเติม : มีแผงหลังบริเวณกลางลำตัวเพื่อระบาย






กัลลิมีมัส ชื่อไดโนเสาร ์: กัลลิมีมัส หมายถึง fowl mimic สถานที่พบ : ทวีปเอเชีย ความยาว : 5.6 เมตร ความสูง : 3 เมตร น้ำหนัก : 200 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน2ขา ลักษณะของฟัน : ไม่มีฟันแต่มีขอบปากเป็นกระดูกสำหรับเคี้ยวอาหาร ประเภท : ไดโนเสาร์กินพืชและกินสัตว์ อาหาร : พืชที่มีอยู่ทั่วไป,แมลง,สัตว์เลี้อยคลาน มีชีวิตอยู่ในยุค : ครีเทเชียส(cretaceous)ประมาณ 74-70 ล้านปีก่อน ข้อมูลเพิ่มเติม : วิ่งได้เร็วถึง 30 ก.ม/ชั่วโมง แต่วิ่งได้ระยะทางสั้น ๆ

ไดโนเสาร์กินเนื้อ

 เซนโทรซอรัส ชื่อไดโนเสาร ์: เซนโทรซอรัส หมายถึง กิ้งก่ามีเขา สถานที่พบ : ทวีปอเมริกาเหนือ ความยาว : 6 เมตร ความสูง : 2 เมตร น้ำหนัก : 1,000 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน4ขา ลักษณะของฟัน : มีขอบปากเป็นกระดูกสำหรับเคี้ยวอาหาร ประเภท : ไดโนเสาร์กินพืช อาหาร : พืชที่มีอยู่ทั่วไป มีชีวิตอยู่ในยุค : ครีเทเชียส (cretaceous)ประมาณ 46-74 ล้านปีก่อน ข้อมูลเพิ่มเติม : มีเขาอยู่ที่จมูกและมีกระดูกแหลมรอบแผงคอด้านหลัง





 ไดนอนนีคัส ชื่อไดโนเสาร ์: ไดนอนนีคัส หมายถึง ไดโนเสาร์ที่มีกรงเล็บที่น่ากลัว สถานที่พบ : ทวีปอเมริกาเหนือ ความยาว : 3 เมตร ความสูง : 1.5 เมตร น้ำหนัก : 75 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน2ขา ลักษณะของฟัน : ฟันโค้งไปด้านหลัง ประเภท : ไดโนเสาร์กินเนื้อ อาหาร : ไดโนเสาร์กินพืช และ สัตว์มีกระดูกสันหลังต่างๆ มีชีวิตอยู่ในยุค : ครีเทเชียส(cretaceous)ประมาณ110-100ล้านปี ข้อมูลเพิ่มเติม : ไดนอนนีคัสใช้กรงเล็บอันแหลมคมที่ปลายเท้าเตะเหยื่อ จนตาย

ไดโนเสาร์กินเนื้อ

ชื่อไดโนเสาร ์: อัลเบอร์โตซอรัส หมายถึง alberta lizard สถานที่พบ : ทวีปอเมริกาเหนือ ความยาว : 9 เมตร ความสูง : 3.5 เมตร น้ำหนัก : 1500 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน2ขา ลักษณะของฟัน : ฟันเหมือนเลื่อย เป็นฟันซี่เล็กๆใช้กินเนื้อโดยเฉพาะ ประเภท : ไดโนเสาร์กินเนื้อ อาหาร : ไดโนเสาร์กินพืชชนิดต่างๆ มีชีวิตอยู่ในยุค : ครีเทเชียส (cretaceous)ประมาณ 76-74 ล้านปีก่อน ข้อมูลเพิ่มเติม : เป็นญาติใกล้ชิดกับไทแรนนอร์ซอรัส แต่มีขนาดเล็ก และน้ำหนักเบากว่า



ไดโนเสาร ์: อัลโลซอรัสหมายถึง different-reptile สถานที่พบ : อเมริกาเหนือ แอฟริกา เกาะมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ความยาว : 12 เมตร ความสูง : 5 เมตร น้ำหนัก : 2000 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน2ขา ลักษณะของฟัน : ฟันเหมือนกริช มีขอบที่คมมากลักษณะคล้ายฟันปลา ประเภท : ไดโนเสาร์กินเนื้อ อาหาร : สเตโกซอรัสดิพโพลโดคัส และไดโนเสาร์ชนิดต่างๆ มีชีวิตอยู่ในยุค : จูราสสิค(jurassic)ประมาณ 153-135ล้านปีก่อน ข้อมูลเพิ่มเติม : ฟันยาว5-10เซนติเมตรมีลักษณะโค้งไปด้านหลังทำให้ เหยื่อดิ้นหลุดไปได้ยาก

 

บารีโอนิกส์ ชื่อไดโนเสาร ์: บารีโอนิกส์ หมายถึง ไดโนเสาร์ที่มีกรงเล็บใหญ่โต สถานที่พบ : ทวีปยุโรป ความยาว : 10 เมตร ความสูง : 4 เมตร น้ำหนัก : 2000 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน2ขา ลักษณะของฟัน : มีฟันคมมากลักษณะคล้ายฟันปลา ประเภท : ไดโนเสาร์กินเนื้อ อาหาร : ปลา และ อีกัวโนดอน มีชีวิตอยู่ในยุค : ครีเทเชียส (cretaceous)ประมาณ 125 ล้านปีก่อน ข้อมูลเพิ่มเติม : ฟันยาว5-10เซนติเมตรมีลักษณะโค้งไปด้านหลังทำให้ มันจะหมอบอยู่ที่ริมตลิ่งหรือเดินลุยน้ำตื้นๆเพื่อกวาด จับปลาด้วยกรงเล็บขนาดใหญ่ของมัน



คามาราซอรัส ชื่อไดโนเสาร ์: คามาราซอรัส หมายถึง chambered lizard สถานที่พบ : ทวีปอเมริกาเหนือ ความยาว : 18 เมตร ความสูง : 9 เมตร น้ำหนัก : 20,000 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน4ขา ลักษณะของฟัน : มีฟันตัดที่คมมากมันใช้ฟันรูดใบไม้ออกจากกิ่งไม้ เหมือนการหวีผม ประเภท : ไดโนเสาร์กินพืช อาหาร : พืชต่างๆที่มีอยู่ทั่วไป มีชีวิตอยู่ในยุค : จูราสสิก(jurassic)ประมาณ 150-140 ล้านปีก่อน ข้อมูลเพิ่มเติม : มันใช้ฟันกัดใบไม้จากต้นไม้และพุ่มไม้อาหารจะถูกย่อย โดยหินที่อยู่ในท้องของมันนอกจากนี้ ยังเป็นไดโนเสาร์ ที่ยาวที่สุด และมีรูจมูกใหญ่มากด้วย
คามาราซอรัส ชื่อไดโนเสาร ์: คามาราซอรัส หมายถึง chambered lizard สถานที่พบ : ทวีปอเมริกาเหนือ ความยาว : 18 เมตร ความสูง : 9 เมตร น้ำหนัก : 20,000 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน4ขา ลักษณะของฟัน : มีฟันตัดที่คมมากมันใช้ฟันรูดใบไม้ออกจากกิ่งไม้ เหมือนการหวีผม ประเภท : ไดโนเสาร์กินพืช อาหาร : พืชต่างๆที่มีอยู่ทั่วไป มีชีวิตอยู่ในยุค : จูราสสิก(jurassic)ประมาณ 150-140 ล้านปีก่อน ข้อมูลเพิ่มเติม : มันใช้ฟันกัดใบไม้จากต้นไม้และพุ่มไม้อาหารจะถูกย่อย โดยหินที่อยู่ในท้องของมันนอกจากนี้ ยังเป็นไดโนเสาร์ ที่ยาวที่สุด และมีรูจมูกใหญ่มากด้วย
คามาราซอรัส ชื่อไดโนเสาร ์: คามาราซอรัส หมายถึง chambered lizard สถานที่พบ : ทวีปอเมริกาเหนือ ความยาว : 18 เมตร ความสูง : 9 เมตร น้ำหนัก : 20,000 กิโลกรัม ลักษณะการเดิน : เดิน4ขา ลักษณะของฟัน : มีฟันตัดที่คมมากมันใช้ฟันรูดใบไม้ออกจากกิ่งไม้ เหมือนการหวีผม ประเภท : ไดโนเสาร์กินพืช อาหาร : พืชต่างๆที่มีอยู่ทั่วไป มีชีวิตอยู่ในยุค : จูราสสิก(jurassic)ประมาณ 150-140 ล้านปีก่อน ข้อมูลเพิ่มเติม : มันใช้ฟันกัดใบไม้จากต้นไม้และพุ่มไม้อาหารจะถูกย่อย โดยหินที่อยู่ในท้องของมันนอกจากนี้ ยังเป็นไดโนเสาร์ ที่ยาวที่สุด และมีรูจมูกใหญ่มากด้วย

การสูญพันธุ์ไดโนเสาร์

การค้นพบของครอกของยักษ์โบราณเช่นในปานามา

ซากดึกดำบรรพ์ของ"ลูกสุนัข"ของ 1.8 เมตรยาวชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลกที่เคยดำรงอยู่ megalodon Carcharocles ซึ่งอาศัยอยู่ในน้ำตื้นอบอุ่น,, ถูกค้นพบในปัจจุบันปานามา Paleontologists รายงานการค้นพบของ Smithsonian Tropical Research Institute (STRI) และมหาวิทยาลัยฟลอริดา

"
ยักษ์ผู้ใหญ่ 18-21 เมตรยาวพวกเขามีนักล่าน้อยมาก. แต่ฉลามหนุ่มอาจจะกลายเป็นเหยื่อให้คนที่มีขนาดใหญ่"'กล่าวว่า Catalina Pimiento, โฮสต์ของ STRI และนักเรียนที่ University of Florida . "ขณะที่ในหลายชนิดของปลาฉลามที่ทันสมัย, Megalodon Carcharocles หนุ่มสาวที่ใช้ระยะเวลาเสี่ยงมากที่สุดในบริเวณน้ำตื้นที่อาหารอุดมสมบูรณ์และถูกล่ามีความยากลำบากในการเข้าถึง it."
นักวิจัยที่ STRI และมหาวิทยาลัยฟลอริดาได้เก็บรวบรวมกว่า 400 ฟันฟอสซิลจาก Gatun Formation, ปานามา, ประมาณ 10 ล้านปีที่ผ่าน นี้การเก็บเป็นส่วนหนึ่งของแคมเปญใหญ่เพื่อให้เข้าใจถึงต้นกำเนิดของแถบแคบของที่ดินที่เชื่อมต่อไปยังทวีปอเมริกาเหนืออเมริกาใต้และที่มีต้นกำเนิดอาจย้อนกลับไปช่วงเวลาเมื่อเร็ว ๆ นี้เพิ่มเติมประมาณ 3 ล้านปี มาแล้ว
"28
ฟันที่เราได้ระบุว่าเป็น Megalodon Carcharocles ส่วนใหญ่เป็นสัตว์เล็กและเด็กทารก"Pimiento กล่าวว่า สำหรับบัตรประจำตัวนักวิจัยที่ใช้ซากดึกดำบรรพ์ของการอ้างอิงเก็บไว้ที่ Smithsonian 's National พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ และ ของ Natural History Museum of Florida
"
เป็นที่รู้จักกันน้อยมากในวันนี้ในวงจรชีวิตของปลาฉลามโบราณเหล่านี้ที่ครอบงำมหาสมุทรไม่ได้นานมาแล้ว. ตอนนี้อย่างน้อยเราก็รู้ว่าปลาหนุ่มสาวใช้จ่ายปีแรกของชีวิตใกล้ฝั่งทะเล, ป่าชายเลน,"คาร์ลกล่าวว่า Jaramillo ที่นำคลองขุดค้นของ
ทีมงานมีการปกครองออกรายอื่น ๆ อีกมากมายเกี่ยวกับการ contrenzazione สูงขนาดเล็กในสถานที่เดียว ก่อนการค้นพบของพวกเขาในปานามา, สองเตียงฟอสซิลอื่น ๆ มีการเสนอให้เป็นสถานรับเลี้ยงเด็กโบราณของฉลามหนุ่ม : Williamsburg การจัดตั้งของย้อนหลังกลับไป Paleocene และของ Chandler สะพาน Formation ( Oligocene ) ทั้งที่อยู่ในเซาท์แคโรไลนา, สหรัฐอเมริกา
ดินทรายของการสร้าง Gantun มีการใช้มานานสำหรับการผลิตปูนซีเมนต์ เร็ว ๆ นี้ outcrops เหล่านี้ถูกใช้จนหมด นักวิทยาศาสตร์จึงยังคงแข่งกับเวลาเพื่อค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับชาวโบราณของภูมิภาคนี้
 

การจัดจำแนกไดโนเสาร์

[แก้] การจัดจำแนก
ไดโนเสาร์ถูกแบ่งออกเป็นสองอันดับใหญ่ ๆ ตามลักษณะโครงสร้างของกระดูกเชิงกราน คือ Saurischia (เรียกไดโนเสาร์ในอันดับนี้ว่า ซอริสเชียน) ซึ่งมีลักษณะกระดูกเชิงกรานแบบสัตว์เลื้อยคลาน มีทั้งพวกกินพืชและกินสัตว์ และ Ornithischia (เรียกไดโนเสาร์ในอันดับนี้ว่า ออร์นิทิสเชียน) มีกระดูกเชิงกรานแบบนกและเป็นพวกกินพืชทั้งหมด[2]
  • ไดโนเสาร์สะโพกสัตว์เลื้อยคลาน หรือ ซอริสเชียน (จากภาษากรีก แปลว่าสะโพกสัตว์พวกกิ้งก่า) เป็นไดโนเสาร์ที่คงโครงสร้างของกระดูกเชิงกรานตามบรรพบุรุษ ซอริสเชียนรวมไปถึงไดโนเสาร์เทอโรพอด (theropod) (ไดโนเสาร์กินเนื้อเดินสองขา) และซอโรพอด (sauropod) (ไดโนเสาร์กินพืชคอยาว)
  • ไดโนเสาร์สะโพกนก หรือ ออร์นิทิสเชียน (จากภาษากรีก แปลว่าสะโพกนก) เป็นไดโนเสาร์อีกอันดับหนึ่ง ส่วนใหญ่เดินสี่ขา และกินพืช
[แก้] ไดโนเสาร์ในวัฒนธรรมสมัยนิยม
แม้ว่ายุคสมัยของไดโนเสาร์สิ้นสุดลงเป็นเวลาหลายสิบล้านปีแล้ว แต่ปัจจุบันไดโนเสาร์ยังคงปรากฏอยู่ในวัฒนธรรมสมัยนิยมและวิถีชีวิตประจำวันของมนุษย์ นิยายหลายเล่มมีการกล่าวถึงไดโนเสาร์ เช่น เพชรพระอุมา ของ พนมเทียน, เดอะลอสต์เวิลด์ (The Lost World) ของ เซอร์ อาเทอร์ โคแนน ดอยล์, และ "จูราสสิค พาร์ค" (ซึ่งถ้าสะกดตามหลักการถ่ายคำต้องสะกดเป็น จูแรสซิกพาร์ก) ของ ไมเคิล ไครช์ตัน (Michael Crichton) ไม่เพียงแต่ในหนังสือนิยายเท่านั้น การ์ตูนสำหรับเด็กก็มีการกล่าวถึงไดโนเสาร์ด้วยเช่นกัน เช่นในเรื่อง มนุษย์หินฟลินท์สโตน (The Flintstones) โดราเอมอน ตำรวจกาลเวลาและก๊องส์
นอกจากนี้ ไดโนเสาร์ยังได้ปรากฏตัวอยู่ในภาพยนตร์หลายเรื่อง เช่น คิงคอง (ปี ค.ศ. 1933) และ จูราสสิค พาร์ค (ปี ค.ศ. 1993) ซึ่งภาพยนตร์เรื่องหลังนี้ดัดแปลงมาจากนิยายของ ไมเคิล ไครช์ตัน และประสบความสำเร็จอย่างสูง เป็นการปลุกกระแสไดโนเสาร์ให้คนทั่วไปหันมาสนใจกันมากขึ้น ในปีค.ศ. 2000 Walt Disney ได้นำไดโนเสาร์มาสร้างเป็น ภาพยนตร์แอนิเมชัน ชื่อเรื่องว่า Dinosaur

ยุคของไดโนเสาร์

ยุคไตรแอสสิก
การครอบ ครองโลกของไดโนเสาร์ในยุคนี้โลกถูกปกคลุมด้วยป่าไม้จำนวนมาก พืชตระกูลที่ใช้สปอร์ในการขยายพันธ์ประสบความสำเร็จและมีวิวัฒนาการถึงขั้นสูงสุด ในป่ายุคไตรแอสสิกช่วงแรกนั้นมีสัตว์ใหญ่ไม่มากนักสัตว์ปีกที่ใหญ่ที่สุดคือแมลงปอยักษ์ที่ปีกกว้างถึง2ฟุตและได้ชื่อว่าเป็นนักล่าเวหาเพียงชนิดเดียวของยุคนี้ เนื่องจากในช่วงปลายของยุคเปอร์เมียนเกิดการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ของสิ่งมีชีวิตทำให้พวกสัตว์เลื้อยคลานกึ่งเลี้ยงลูกด้วยนมจำนวนมาก สูญพันธุ์ไปพวกที่เหลือได้สืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงต้นยุคไตรแอสสิกในกลุ่มสัตว์เหล่านี้เจ้าซินนอกนาตัสเป็นสัตว์นักล่าที่น่าเกรงขามที่สุด ในหมู่พวกมันและในช่วงนี้เองไดโนเสาร์ก็ถือกำเนิดขึ้นโดยพวกมันวิวัฒนาการมาจากสัตว์เลื้อยคลานที่เดินด้วยขาหลังอย่างเจ้าธีโคดอนซึ่งถือกันว่าเป็นบรรพบุรุษของไดโนเสาร์ การสูญพันธ์ครั้งใหญ่ในยุคเปอร์เมียนทำให้พวกมันสามารถขยายเผ่าพันธุ์ได้อย่างมากมายในช่วงต้นยุคไตรแอสสิกและกลายมาเป็นคู่แข่งของพวกสัตว์เลื้อยคลานกึ่งเลี้ยงลูกด้วยนมที่เหลือ ไดโนเสาร์ในยุคแรกเป็นพวกเดินสองขา เช่น พลาทีโอซอร์ ไดโนเสาร์กินพืชคอยาวที่เป็นบรรพบุรุษของพวก ซอโรพอด หรือเจ้าซีโลไฟซิส บรรพบุรุษของพวกกินเนื้อ นักล่าสองขาความสูง 1 เมตร การที่มันสามารถเคลื่อนไหวได้ด้วยสองขาหลังทำให้พวกมันมีความคล่องตัวในการล่าสูงกว่า ซินนอกนาตัส หรืออีรีโทรซูคัสที่ยาวถึง 15 ฟุตซึ่งมีกรามขนาด ใหญ่และแข็งแรงนักล่าเหล่านี้ได้เปรียบซินนอกนาตัสและสัตว์เลื้อยคลานกึ่งเลี้ยงลูกด้วยนมอื่นๆทำให้พวกนี้ต้องวิวัฒนาการให้มีขนาดเล็กลงเพื่อที่จะหลบหนีพวกไดโนเสาร์ และหลีกทางให้เผ่าพันธุ์ไดโนเสาร์ก้าวมาครองโลกนี้แทนในที่สุด
ยุคจูราสสิก
ไดโนเสาร์ครอบครองโลกได้สำเร็จในตอนปลายยุคไตรแอสสิก จนเมื่อเข้าถึงยุคจูราสสิกพวกมันก็ขยายเผ่าพันธุ์ไปทั่วโลกในยุคนี้ผืนแผ่นดินถูกปกคลุมด้วยพืชขนาดยักษ์จำพวกสนและเฟิร์นอย่างไรก็ตามได้เริ่มมีพืชดอกปรากฏขึ้นเป็นครั้งแรกในช่วงกลางของยุคนี้นับว่าเป็นจุดเริ่มของการขยายพันธุ์รูปแบบใ หม่ของพวกพืชในยุคจูราสสิกนับได้ว่าเป็นยุคที่พวกไดโนเสาร์คอยาวตระกูลซอโรพอด(Sorropod)ขยายเผ่าพันธุ์อย่างกว้างขวางพวกมันเป็นไดโนเสาร์ ขนาดยักษ์สายพันธุ์ที่รู้จักกันดีก็คือ แบรกคิโอซอรัส (Brachiosaurus) ดิปโพลโดคัส (Diplodocus) และอะแพทโตซอรัส (Apatosaurus)หรืออีกชื่อคือบรอนโตซอรัสนอกจากนี้ยังมีชนิดอื่นๆอีกมากมายสัตว์ยักษ์เหล่านี้ครั้งหนึ่งถูกมองว่า เป็นสัตว์ที่โง่และไม่อาจป้องกันตัวจากสัตว์นักล่าได้ทว่าในปัจจุบันนักโบราณคดีชีววิทยา (paleontology)เชื่อว่าพวกมันใช้หางที่หนาหนักศัตรูที่มาจู่โจมซึ่งนับว่าเป็นการตอบโต้ที่น่ายำเกรงไม่น้อยและเพราะหางที่ยาว และมีน้ำหนักมากนี่เองที่ทำให้พวกมันต้อง มีคอยาวเพื่อสร้างสมดุลย์ ของสรีระของมัน
ยุคครีเตเซียส
ยุคครีเตเชียสเป็นยุคที่ต่อจากยุคจูแรสสิกสัตว์เลื้อยคลานเจริญมากในยุคนี้ ที่ประเทศญี่ปุ่นก็มีการค้นพบที่จังหวัดฟุกุชิมาได้แก่ พวกไดโนเสาร์คอยาว อีลาสโมซอรัส พวกกิ้งก่าทะเลโมซาซอร์อย่างไฮโนซอรัส และ[อาเครอน]]เป็นพวกเต่าอาศัยอยู่ในทะเล บนท้องฟ้าก็มีเคอาร์โคโทรุสซึ่งมีขนาดปีกยาวถึง 15 เมตร บินอยู่มากมายยุคนี้เป็นยุคที่ไดโนเสาร์มีการพัฒนาตัวเองอย่างมาก พวกซอริสเชียนที่กินเนื้อมีตัวขนาดใหญ่ได้แก่ อัลเบอร์โตโตซอรัส ไทรันโนซอรัสปรากฎในยุคนี้มีลักษณะดังนี้ไทรันโนซอรัสนั้นมีเล็บที่ขาหลังใหญ่โตและมีฟันแหลมยาวประมาณ 13 เซนติเมตร เพื่อใช้จับเหยื่อพวกซอริสเชียนที่กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหารก็ได้แก่ ออนิโตมิมัสพวกออร์นิธิสเชียนมักจะเป็นพวกกินพืชพวกที่ถูกค้นพบครั้งแรกก็ได้แก่ อิกัวโนดอน แล้วก็พบ ฮิพุชิโรโฟดอน และ ฮาโดโรซอรัส พวกออร์นิธิสเชียน ได้แก่ ไทรเซอราทอปส์ สเตโกซอรัส แองคิโลซอรัส พบเจริญอยู่มากมาย แต่ว่าก่อนจะหมดยุคครีเตเชียส นั้นอากาศก็เริ่มเปลี่ยนแปลงไดโนเสาร์บางพวกเริ่มตายลงและสูญพันธุ์หลังจากไดโนเสาร์สูญพันธุ์ไปแล้วสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมก็มีบทบาทขึ้นมาบนโลก



การวิวัฒนาการ

[แก้] วิวัฒนาการ
บรรพบุรุษของไดโนเสาร์คือ อาร์โคซอร์ (archosaur) ซึ่งไดโนเสาร์เริ่มแยกตัวออกมาจากอาร์โคซอร์ในยุค ไทรแอสซิก ไดโนเสาร์ชนิดแรกถือกำเนิดขึ้นราวๆ 230 ล้านปีที่แล้ว หรือ 20 ล้านปี หลังจากเกิดการสูญพันธุ์เพอร์เมียน-ไทรแอสซิก (Permian-Triassic extinction) ซึ่งคร่าชีวิตของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลกสมัยนั้นไปกว่า 70 เปอร์เซ็นต์
สายพันธุ์ไดโนเสาร์แพร่กระจายอย่างรวดเร็วหลังยุคไทรแอสซิก กล่าวได้ว่าในยุคทองของไดโนเสาร์ (ยุคจูแรสซิก และยุคครีเทเชียส) ทุกสิ่งมีชีวิตบนพื้นพิภพที่มีขนาดใหญ่กว่าหนึ่งเมตรคือไดโนเสาร์
จนกระทั่งเมื่อ 65 ล้านปีที่แล้ว การการสูญพันธุ์ครีเทเชียส-เทอร์เชียรี (Cretaceous-Tertiary extinction) ก็ได้กวาดล้างไดโนเสาร์จนสูญพันธุ์ เหลือเพียงไดโนเสาร์บางสายพันธุ์ที่เป็นบรรพบุรุษของนกในปัจจุบัน ยุคต่างๆของไดโนเสาร์
มหายุค เมโสโซอิค (Mesaozoic Era) 65-225 ล้านปี ในยุคนี้มี 3 ยุค คือ ยุค ไตรแอสสิก ยุคจูราสสิก ยุคครีเตเซียส และยุคซีโนโซอิกในยุคไตรแอสสิกนี้ สภาพอากาศในขณะนั้นจะมี สภาพร้อนและแล้งมากขึ้นกว่าในอดีต ทำให้ต้นไม้ใหญ่น้อยในเขตร้อนสามารถเจริญเติบโตได้ ดีมาก จนกระทั่ง "ไดโนเสาร์ ตัวแรก"ได้ถือกำเนิดขึ้นมาบนโลกนี้ ไดโนเสาร์กลุ่มแรกที่ได้กำเนิด ขึ้นมาจะมีขนาดเล็กเดิน 2 เท้า และมีลักษณะพิเศษ คือ เท้ามีลักษณะคล้ายกับเท้าของนก ต่อมา ในยุคจูราสสิกนี้ จัดว่าเป็นยุคที่เฟื่องฟูเป็นอย่างมาก บรรดาพืชพรรณธัญญาหารที่อุดมสมบูรณ์ ทำให้ไดโนเสาร์จำนวนมากขยายพันธุ์ไปอย่างรวดเร็ว ทำให้มีร่างกายใหญ่โต ซึ่งส่วนใหญ่จะกินพืช เป็นอาหาร และยุคนี้ยังได้ ถือกำเนิด นก ขึ้นมาเป็นครั้งแรกอีกด้วย ต่อมาในยุคครีเตเชียสนี้ จัดว่า เป็นยุคที่ไดโนเสาร์นั้นรุ่งเรื่องที่สุด เพราะยุคนี้ไดโนเสาร์ ได้มีการพัฒนาพันธุ์ออกมาอย่างมากมาย